ภาษาโปรเเกรมคอมพิวเตอร์มีวิวัฒนาการมายาวนาน นับตั้งเเต่การสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาเครื่อง ที่ประกอบด้วยเลข 0 เเละ 1 ในยุคเริ่มเเรกของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเขียนโปรเเกรมขนาดใหญ่ เนื่องด้วยความยากของการเขียนโปรเเกรม จนมาถึงปัจจุบันที่ภาษาโปรเเกรมคอมพิวเตอร์มีความคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษ ทำให้การเขียนโปรเเกรมขนากใหญ่ทำได้รวดเร็ว เเละมีความผิดพลาดน้อยลง เเต่เนื่องจากคอมพิวเตอร์ยังคงต้องทำงานตามภาษาเครื่อง เมื่อเราเขียนโปรเเกรมเเล้ว จึงต้องมีการเเปลให้เป็นภาษาเครืิ่องก่อน
ตัวเเปรภาษาโปรเเกรมมี 2 ประเภท คือ
1.คอมไพเลอร์(compiler) จะเเปรโปรเเกรมทั้งโปรเเกรมให้ถูกต้อง จึงจะได้ผลลัพธ์เป็นโปรเเกรมภาษาเครื่องที่นำไปสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ภาษาเครื่องที่นำไปสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ภาษาที่ต้องเเปลด้วยคอมไพเลอร์ เช่น c,c++.java
2.อินเทอร์พรีเตอร์(interpreter) จะเเปลคำสั่งในโปรเเกรมทีละคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง ส่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานทันที โดยไม่ต้องรอให้เเปลเสร็จทั้งโปรเเกรม เช่น python,Logo
วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
การกำหนดค่าให้ตัวเเปร
การกำหนดค่าอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับตัวเเปรสามารถทำได้ 3 วิธี
o การรับค่าจากภายนอก
o การกำหนดค่าจากค่าคงที่หรือตัวเเปรอื่น
o การกำหนดค่าจากการคำนวณ
สัญลักษณ์ที่นิยมใช้สำหรับการกำหนดค่าให้กับตัวเเปร คือ ⬅️ ใช้เพื่อนำค่าทางขวาของ ⬅️ ไปกำหนดให้ตัวเเปรทางด้านซ้ายของ⬅️ เช่น
x ⬅️ 2 นำค่า2ไปใส่ในตัวเเปร x
a ⬅️ b x c นำผลลัพธ์ของตัวเเปร b คูณกับตัวเเปร c ไปใส่ในตัวเเปร a
a ⬅️ a x b นำผลลัพธ์ของตัวเเปร a คูณกับตัวเเปร b ไปใส่ในตัวเเปร a
x ⬅️ x + 1 นำผลลัพธ์ของตัวเเปร x บวกกับ 1 ไปใส่ในตัวเเปร x
y ⬅️ 3 นำค่า 3 ไปใส่ในตัวเเปร y
z ⬅️ x x y นำผลลัพธ์ของตัวเเปร x คูณกับตัวเเปร y ไปใส่ในตัวเเปร z
การตั้งชื่อตัวเเปรควรตั้งชื่อให้เหมาะสมกับค่าที่เก็บในตัวเเปร เช่น ตัวเเปร name เก็บข้อมูล, ตัวเเปร age เก็บข้อมูลอายุ
ตัวอย่างการเขียนหาตัวเเปร
x ⬅️ 2 นำค่า 2 ไปใส่ในตัวเเปร x
o การรับค่าจากภายนอก
o การกำหนดค่าจากค่าคงที่หรือตัวเเปรอื่น
o การกำหนดค่าจากการคำนวณ
สัญลักษณ์ที่นิยมใช้สำหรับการกำหนดค่าให้กับตัวเเปร คือ ⬅️ ใช้เพื่อนำค่าทางขวาของ ⬅️ ไปกำหนดให้ตัวเเปรทางด้านซ้ายของ⬅️ เช่น
x ⬅️ 2 นำค่า2ไปใส่ในตัวเเปร x
a ⬅️ b x c นำผลลัพธ์ของตัวเเปร b คูณกับตัวเเปร c ไปใส่ในตัวเเปร a
a ⬅️ a x b นำผลลัพธ์ของตัวเเปร a คูณกับตัวเเปร b ไปใส่ในตัวเเปร a
x ⬅️ x + 1 นำผลลัพธ์ของตัวเเปร x บวกกับ 1 ไปใส่ในตัวเเปร x
y ⬅️ 3 นำค่า 3 ไปใส่ในตัวเเปร y
z ⬅️ x x y นำผลลัพธ์ของตัวเเปร x คูณกับตัวเเปร y ไปใส่ในตัวเเปร z
การตั้งชื่อตัวเเปรควรตั้งชื่อให้เหมาะสมกับค่าที่เก็บในตัวเเปร เช่น ตัวเเปร name เก็บข้อมูล, ตัวเเปร age เก็บข้อมูลอายุ
ตัวอย่างการเขียนหาตัวเเปร
x ⬅️ 2 นำค่า 2 ไปใส่ในตัวเเปร x
วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ผังงาน
2.2.2ผังงาน
ผังงานเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการวางเเผนหรือออกเเบบการเเก้ปัญหา เพื่อให้สามารถนำไปปฎิบัติตามหรือเขียนโปรเเกรมเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอรืทำงานได้ง่าย สถาบันมาตรฐานเเห่งชาติอเมริกา(The American National standard Institute: ANSI) ได้กำหนดสัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานในการเขียนผังงานไว้ ซึ่งในที่นี้จะเเนะนำการใช้งาน 5 สัญลักษณ์พื้นฐาน ดังตาราง 2.1
ผังงานเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการวางเเผนหรือออกเเบบการเเก้ปัญหา เพื่อให้สามารถนำไปปฎิบัติตามหรือเขียนโปรเเกรมเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอรืทำงานได้ง่าย สถาบันมาตรฐานเเห่งชาติอเมริกา(The American National standard Institute: ANSI) ได้กำหนดสัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานในการเขียนผังงานไว้ ซึ่งในที่นี้จะเเนะนำการใช้งาน 5 สัญลักษณ์พื้นฐาน ดังตาราง 2.1
คำถามชวนคิด หน้าที่ 29
ให้จัดเรียงการทำงานต่อไปนี้ เพื่ิอคำนวณค่าน้ำมันในการเดินทางตามระยะทางที่กำหนด
1. รับระยะทางในการเดินทาง
2. รับปริมาณน้ำมันต่อระยะทาง
3. รับราคาน้ำมัน
4.เเสดงค่าน้ำมันที่ต้องใช้
1. รับระยะทางในการเดินทาง
2. รับปริมาณน้ำมันต่อระยะทาง
3. รับราคาน้ำมัน
4.เเสดงค่าน้ำมันที่ต้องใช้
การเขียนรหัสลำลองเเละผังงาน
การเขียนรหัสลำลอง หมายถึง การเขียนรหัสลำลองเป็นการใช้คำบรรยายอธิบายขั้นตอนอย่างชัดเจนในการเเก้ปัญหา หรือ การทำงานของโปรเเกรมซึ่งรูปเเบบการเขียนจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ เเละความถนัดของผู้เขียน โดยอาจเขียนเป็นภาษาพูด ทำให้เขียนง่ายไม่ต้องกังวลรูปเเบบ
การเขียนรหัสลำลอง เรื่อง การเเต่งกายชุดนักเรียน
เริ่มต้น
1. ใส่กางเกงใน
2. ใส่เสื้อนักเรียน
3. ใส่กางเกงนักเรียน
4. ใส่ถุงเท้านักเรียน
5. ใส่รองเท้านักเรียน
จบ
การเขียนรหัสลำลอง เรื่อง การเเต่งกายชุดนักเรียน
เริ่มต้น
1. ใส่กางเกงใน
2. ใส่เสื้อนักเรียน
3. ใส่กางเกงนักเรียน
4. ใส่ถุงเท้านักเรียน
5. ใส่รองเท้านักเรียน
จบ
วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ตัวอย่างขั้นตอนการเเก้ปัญหา
นักเรียนจะนำขั้นตอนการเเก้ปัญหาข้างต้น มาเเก้ปัญหาที่ต้องการได้อย่างไร ลองศึกษาตัวอย่างต่อไปนี้
การเเก้ปัญหามีขั้นตอน ดังนี้
ข้อมูลเข้า จำนวนสามจำนวนำด้เเก่a b เเละ c
ข้อมูลออกหรือสิ่งที่ต้องการ ตัวเลขที่มีค่ามากที่สุดของเลขสามจำนวน
วิธีตรวจสอบความถูกต้อง ดำเนินการหาตัวเลขที่มากที่สุดด้วยตนเองโดยกำหนดตัวเลข 3 จำนวน เช่น 8,7 เเละ 12 ในกรณีนี้ตัวเลขที่มากที่สุดคือ 12
ขั้นตอนที่ 2 วางเเผนการเเก้ปัญหา
2.1 เปรียบเทียบ a เเละ b เพื่อหาค่ามากกว่าระหว่างสองจำนวน
2.2 นำค่าที่ได้มาเปรียบเทียบกับ c เพื่อหาค่าที่มากกว่า
2.3 นำค่าที่ได้มากที่สุดคือ ผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนที่ 2.2
ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการเเก้ปัญหา
ดำเนินการทดสอบตามขั้นตอนที่วางเเผนไว้กับชุดตัวเลขที่กำหนด โดยสมมติa,b เเละ c เป็น 8 7 เเละ12ตามลำดับ
3.1 เปรียบเทียบเพื่อหาค่าที่มีมากกว่าระหว่าง 8 เเละ 7 พบว่า 8 เป็นค่าที่มากกว่า
3.2 เปรียบเทียบเพื่อหาค่ามากกว่าระหว่าง 8 เเละ 12 พบว่า 12 เป็นค่าที่มากกว่า
3.3 ค่าที่มากที่สุดของ8,7 เเละ 12 คือ 12
ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบเเละปรับปรุง
เมื่อพิจารณาคำตอบที่ได้ คือ 12 กับค่าเหลือ ซึ่งได้เเก่ 8 เเละ 7 พบว่า 12 มีค่ามากกว่าค่าที่เหลือทั้งคู่ คำตอบนี้จึงเป็นคำตอบที่ถูกต้องตามข้อกำหนดของสิ่งที่ต้องการ
เเนวคิดข้างต้นใช้งานได้เนื่องจากว่าหากพิจารณาจำนวนสามจำนวนใดๆ เมื่อ a > b เเละ b>c เเล้ว a>c ด้วย
จากตัวอย่างเเม้ว่าเราจะไม่ได้นำค่า 12 มาเปรียบเทียบกับ 7 โดยตรง เเต่เราได้นำมาเปรียบเทียบกับ 8 ถูกตรวจสอบมาก่อนหน้านี้เเล้วมากกว่า 7 เพราะฉนั้น 12 จึงมากกว่า 7 ด้วย
ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการเเก้ปัญหา
ดำเนินการทดสอบตามขั้นตอนที่วางเเผนไว้กับชุดตัวเลขที่กำหนด โดยสมมติa,b เเละ c เป็น 8 7 เเละ12ตามลำดับ
3.1 เปรียบเทียบเพื่อหาค่าที่มีมากกว่าระหว่าง 8 เเละ 7 พบว่า 8 เป็นค่าที่มากกว่า
3.2 เปรียบเทียบเพื่อหาค่ามากกว่าระหว่าง 8 เเละ 12 พบว่า 12 เป็นค่าที่มากกว่า
3.3 ค่าที่มากที่สุดของ8,7 เเละ 12 คือ 12
ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบเเละปรับปรุง
เมื่อพิจารณาคำตอบที่ได้ คือ 12 กับค่าเหลือ ซึ่งได้เเก่ 8 เเละ 7 พบว่า 12 มีค่ามากกว่าค่าที่เหลือทั้งคู่ คำตอบนี้จึงเป็นคำตอบที่ถูกต้องตามข้อกำหนดของสิ่งที่ต้องการ
เเนวคิดข้างต้นใช้งานได้เนื่องจากว่าหากพิจารณาจำนวนสามจำนวนใดๆ เมื่อ a > b เเละ b>c เเล้ว a>c ด้วย
จากตัวอย่างเเม้ว่าเราจะไม่ได้นำค่า 12 มาเปรียบเทียบกับ 7 โดยตรง เเต่เราได้นำมาเปรียบเทียบกับ 8 ถูกตรวจสอบมาก่อนหน้านี้เเล้วมากกว่า 7 เพราะฉนั้น 12 จึงมากกว่า 7 ด้วย
การเเก้ปัญหา
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
✅การถ่ายทอดความคิดในการเเก้ปัญหาหรือทำงาน อาจเขียนเป็นข้อความที่เเสดงให้เห็นการเเก้ปัญหาหรือการทำงานที่เป็นลำดับขั้นตอน
✅การเเสดงลำดับขั้นตอนในการทำงานหรือการเเก้ปัญหา อาจใช้ภาพ สัญลักษณ์ ข้อความ การบอกกล่าว
✅หากพิจารณาลำดับขั้นตอนการทำงาน สามารถบอกถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นได้
ลองทำดู🖍️
1.เดินออกจากบ้าน
2.รอรถ
3.รถมา
4.เปิดประตูรถ
5.เดินเข้ารถ
6.นั่งบนรถ
7.ถึงโรงเรียน
8.รถจอด
9.เปิดประตูรถ
10.เดินเข้าโรงเรียน
✅การถ่ายทอดความคิดในการเเก้ปัญหาหรือทำงาน อาจเขียนเป็นข้อความที่เเสดงให้เห็นการเเก้ปัญหาหรือการทำงานที่เป็นลำดับขั้นตอน
✅การเเสดงลำดับขั้นตอนในการทำงานหรือการเเก้ปัญหา อาจใช้ภาพ สัญลักษณ์ ข้อความ การบอกกล่าว
✅หากพิจารณาลำดับขั้นตอนการทำงาน สามารถบอกถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นได้
ลองทำดู🖍️
1.เดินออกจากบ้าน
2.รอรถ
3.รถมา
4.เปิดประตูรถ
5.เดินเข้ารถ
6.นั่งบนรถ
7.ถึงโรงเรียน
8.รถจอด
9.เปิดประตูรถ
10.เดินเข้าโรงเรียน
วันจันทร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
เเบบฝึกหัด หน่วยที่ 3 เรื่องเเนวคิดเชิงนามธรรม เรื่องที่ 2
การถ่ายทอดรายระเอียดของปัญหาเเละการเเก้ปัญหา
การถ่ายทอดรายระเอียดนี้ไปสุ่ผู้ที่จะวิเคราะห์เเละเเก้ปัญหา ซึ่งเป็นไปได้หลายรูปเเบบ หากผู้เเก้ปัญหาของบุคคลอื่น การถ่ายทอดปัญหาสามารถทำได้โดยการอธิบายเป็นข้อความเเละ อาจใช้เเผนภาพประกอบ หากผู้เเก้ปัญหาคือคอมพิวเตอร์ การถ่ายทอดวิธีการเเก้ปัญหาก็จะอยู่ในรูปของภาษาของโปรเเกรม
กิจกรรมที่1
1 เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่ใช้ระยะสั้นที่สุด
ตอบ 900 เมตร
2 เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านสั้นที่สุดโดยเเวะร้านขนม
ตอบ 1300 เมตร
3 เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่สั้นที่สุดโดยเเวะร้านขายขนม เเละเลือกเดินเฉพาะที่ที่มีร่มเงาเท่านั้น
ตอบ 2400 เมตร
หน่วยที่3 ความคิดเชิงนามธรรม
เเนวคิดเชิงนามธรรม
เเนวคิดเชิงนามธรรม(abstract thinking หรือ abstraction) เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเเนวคิดเชิงคำนวณ(computational thinking) ซึ่งใช้กระบวนการคัดเเยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อยในปัญหาหรืองานที่กำลังพิจารณา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จำเป็นเเละเพียงพอในการเเก้ปัญหา
กิจกรรมที่ 1 เเยกคุณลักษณะที่จำเป็นของปากกา
1 มีไส้เป็นสี
2 มีที่กดปากกา
กิจกรรมที่ 2
มีส้ม 5 กิโลกรัม มีองุ่น 7 กิโลกรัม น้ำมันงา 2 กิโลกรัม ชมพู่ 4 กิโลกรัม รวมมีผลไม้ทั้งหมดกี่กิโลกรัม
ข้อมูลที่จำเป็นคือ น้ำหนักของผลไม้
ข้อมูลที่ไม่จำเป็นคือ น้ำมันงา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)